Chrysotile แร่ใยหิน

การใช้ข้อมูลบางส่วนในรายงาน CONCHA-BARRIENTOS (2004) เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด

ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ

  •  กว่า 125 ล้านคนสัมผัสกับแร่ใยหินในสถานที่ทางาน จากการประเมินต่างๆ ในแต่ละปี ประชาชนอย่างน้อย 90,000 คน เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่แร่ใยหินนั้นมีส่วนมาเกี่ยวข้อง

สิ่งที่นักโฆษณาชวนเชื่อนั้นจงใจไม่เปิดเผยต่อประชาชน

  •  ในงานศึกษาวิจัยกว่า 20 ชิ้นที่ทาการศึกษาในคนงานกว่า 100,000 รายที่สัมผัสกับแร่ใยหิน อัตราการเสียชีวิต (SMR) จากคนงานกว่า 100,000 รายนี้ มีอัตราการเสียชีวิต 1.04 คนสาหรับผู้ที่สัมผัสกับไครโซไทล์ และสูงสุด 4.97 คน สาหรับผู้ที่สัมผัสกับอะโมไซท์

ผู้สนับสนุนการห้ามใช้แร่ใยหินทุกชนิดแบบสิ้นเชิง รวมทั้งไครไซไทล์ จงใจที่จะละเลยและมองข้ามการอ้างอิงส่วนสรุปทั้งหมดของรายงาน Concha-Barrientos ดังกล่าว ซึ่งสรุปว่า: “อย่างไรก็ตาม การสัมผัสกับแร่ใยหินในระดับความเข้มข้นต่าจะมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดไม่มากนัก”

การทานาย ที่มาสนับสนุนข้อมูลที่ผิดๆ

บ่อยครั้งที่ การเตือนถึงภัยอันตรายนั้น อ้างอิงด้วยข้อมูลที่ได้จากการประมาณการ:

  • ที่ประมาณการว่า แร่ใยหินทุกชนิดมีลักษณะเดียวกันหมด โดยรวมเอาแร่ใยหินบางชนิดที่มีระดับความเสี่ยงมากกว่าไครโซไทล์เข้าไว้ด้วย เช่น โครซิโดไลท์ (crocidolite) และ อะโมไซท์ (amosite) ซึ่งถูกสั่งห้ามนามาค้าขายเชิงพาณิชย์กว่าสองทศวรรษแล้ว
  •  อ้างด้วยระดับการปนเปื้อนในอากาศที่ความเข้มข้นนั้นสูงกว่าระดับมาตรฐาน คือ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. ซึ่งเป็นระดับความเข้มข้นปรกติของไครโซไทล์ที่มีอยู่ทั่วไปทุกวันนี้
Please follow and like us:

ใส่ความเห็น