Category Archives: ข้อมูลเกี่ยวกับไครโซไทล์
ใยหินแอมฟิโบล

ส่วนผสมของแร่/สารเคมีใยหินกลุ่มแอมฟิโบลจะซับซ้อนกว่าของใยหินเซอร์เพนไทน์ สำหรับสูตรส่วนผสมของใยหินในกลุ่มนี้ทั้ง 5 ชนิด ดังแสดงในตารางข้างใต้ ในกลุ่มนี้โครงสร้างของเส้นใยจะเหมือนกัน แต่ส่วนผสมทางเคมีจะไม่เหมือนกันเนื่องจากแร่ซิลิเกตจะสามารถเกิดการรวมตัว/ผสมกันของอนุภาคได้หลายแบบ (ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลัก) แล้วแต่แนวของซิลิเกตซึ่งเส้นใยเกิดขึ้น (Speil & Leineweber, 1969)
ข้อเท็จจริง

ปัจจุบันผู้คนทั่วโลกเรียกร้องให้เลิกใช้ใยหิน ดังนั้นจึงไม่ควรขัดขืน รวมทั้งบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิก็เรียกร้องให้เลิกใช้ด้วยเช่นกัน
บุคคลกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันสั้น วัตถุประสงค์ย่อมสั้นตาม เหตุผลที่ยกมาอ้างก็สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตน จะอ้างว่าตนเป็นตัวแทนของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กร/สถาบันระดับสากลไม่ได้ เหตุใด
ทราบหรือไม่ว่า
ข้อมูลสถิติ VS การรับรู้

แนวคิดค่าเริ่มต้น…
งานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์มักอ้างอิงถึงระดับการสัมผัสที่ต่ากว่าระดับที่ไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ นักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินบางคนปฏิเสธที่รับรู้ข้อเท็จจริงนี้ และไม่ยอมรับความจริงเรื่องระดับความเข้มข้นและชนิดของแร่ใยหิน แต่สรุปความเห็นเอาเองว่าความเสี่ยงนั้นเท่าๆกัน ซึ่งขัดแย้งกับความคิดเห็นที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง
ตามที่ระบุในงานศึกษาวิจัยด้านโรคระบาดวิทยา รวมทั้งงานวิจัยที่ได้ระบุไว้ข้างต้นนี้ คนงานที่สัมผัสกับไครโซไทล์ที่ประมาณ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. นั้นไม่มีความเสี่ยง ถ้าปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ ไครโซไทล์นั้นไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ
งานศึกษาวิจัยชิ้นต่างๆที่ได้มีการตีพิมพ์เผยแพร่มาแล้วในช่วงประมาณสามสิบปี ต่างสรุปว่าไม่สามารถวัดระดับความเสี่ยง ที่เกิดจากการใช้ไครโซไทล์ได้
คำทำนายของจูเลี่ยน เพโต (JULIAN PETO) และ การตอบโต้คำทำนาย

จูเลี่ยน เพโต เป็นนักวิชาการโรคระบาดวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งในปี 1995 ได้ทาการประเมินทางสถิติถึงตัวเลขการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการเกี่ยวพันกับแร่ใยหิน โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีความสับสนมาก แต่ได้สร้างความกังวลไปทั่วโลกการประเมินได้เหมารวมแร่ใยหินทุกชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ได้พิจารณาระดับความเสี่ยงของไครโซไทล์ ซึ่งมีการพิสูจน์อย่างน่าเชื่อถือแล้วว่าอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยง คือ ต่ากว่า 1 เส้นใย/ลบ.ซม (1 f/cc.)
การใช้ข้อมูลบางส่วนในรายงาน CONCHA-BARRIENTOS (2004) เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด
ความแตกต่างระหว่าง เรื่องโกหก กับ ความจริง

ระหว่างข้อมูลสถิติที่อนุมานเอาและตัดตอนนามาเพื่อการอ้างอิงเพียงบางส่วน กับ ความจริงของอุตสาหกรรมไครโซไทล์ จะแสดงชัดเจนว่าในโลกเรายังมีการรับรู้ที่ผิดๆและการจงใจก่อให้เกิดความกลัวเกินจริงโดยนักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินทุกชนิดอย่างสิ้นเชิงที่คอยป้อนข้อมูลครึ่งจริงให้โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างกันของแร่ใยหินแต่ละชนิด และไม่ได้พิจารณางานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ดาเนินการวิจัยกันในทศวรรษที่ผ่านมา
เราสามารถนำแร่ไครโซไทล์มาใช้ได้อย่างปลอดภัย

ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป