Chrysotile แร่ใยหิน

การแพร่กระจาย

จาก การศึกษาด้านนี้โดย Liddell, McDonald & McDonald (1997) แสดงว่าในปัจจุบันซึ่งมีการควบคุมปริมาณฝุ่นเส้นใยในโรงงาน (~ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. x 8 ชม.) จำนวนของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากฝุ่นใยหินไม่มีการเพิ่มสูงขึ้น (เฉพาะโรงงานที่ใช้เส้นใย ไครโซไทล์)

วันที่ 19 ตุลาคม 2006 IARC ได้เสนอบทความในวารสาร “Occupational exposure to asbestos and man-made vitreous fibres and risk of lung cancer: a multicentercase-control study in Europe,” Read More

Please follow and like us:
แร่ใยหิน ไครโซไทล์

ความคงทนทางชีวภาพ

“จากการศึกษาเส้นใย ไครโซไทล์พบว่าสามารถย่อยสลายได้โดยไม่ยากในปอดเส้นใยชนิดนี้เป็นเส้นใยธรรมชาติและความสามารถในการย่อยสลายปรากฏว่ามีแตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิดอย่างไรก็ดีค่าความสามารถในการย่อยสลายจะอยู่ประมาณตำแหน่งปลายๆ(สามารถย่อยสลายได้ดี) โดยพิสัยจะประมาณใกล้เคียงกับเส้นใยแก้วและหินที่ค่าสุดท้ายเส้นใย ไครโซไทล์จะย่อยสลายได้ง่ายกว่าเส้นใยเซรามิกส์เส้นใยแก้วชนิดพิเศษและเส้นใยหินชนิดแอมฟิโบล Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์

ประเทศไทย

ประเทศไทยได้นำเข้าใยหินจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลานานกว่า 70 ปี โดยส่วนใหญ่จะเป็นชนิดเส้นใย ไครโซไทล์ ส่วนใยหินโครซิโดไลท์ทางการได้สั่งห้ามนำเข้า ตามพ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (1992) ปัจจุบันจึงมีเพียงเส้นใย ไครโซไทล์ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

“อุฬาร” ยันแร่ใยหิน “ไครโซไทล์” ไม่ก่อมะเร็ง โวย “สคบ.” บังคับติดฉลากอันตราย

ผู้บริหาร “กระเบื้องโอฬาร” ยืนยัน “แร่ใยหินไครโซไทล์” ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง เพราะสามารถสลายในร่างกายมนุษย์ได้ภายใน 14 วัน แต่ชนิดแอมฟิโบลที่ก่อมะเร็ง ได้เลิกขุดมาผลิตมานานถึง 40 ปีแล้ว ลั่นฟ้องศาลปกครองหาก สคบ. บังคับให้ติดฉลากระวังสินค้า เนื่องจากผลพิสูจน์ชัดเจนแล้วว่า เป็นแร่ใยหินคนละชนิดกัน Read More

Please follow and like us:
แร่ใยหิน

แร่ใยหินและสุขภาพ

ประเภทของแร่ใยหิน

การที่แร่ใยหิน 2 กลุ่มมีคุณสมบัติแตกต่างกัน สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากโครงสร้างของเส้นใย ดังนี้

  • ใยหินกลุ่มแอมฟิโบล เส้นใยจะเป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก
  • หินกลุ่มเซอร์เพนไทน์ เส้นใยจะมีลักษณะเป็นเกลียวพันกันคล้ายเชือก ประกอบด้วยเส้นใยย่อยจำนวนมาก

Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อแนะนำในการใช้งานอย่างถูกต้องในอุตสาหกรรม

ผลิตภัณฑ์กระเบื้องซีเมนต์เส้นใย ประกอบด้วย ปูนซีเมนต์ 90% เส้นใยใครโซไทท์ 10% ส่วนผสมปูนซีเมนต์จะยึดเกาะ
เส้นใยไว้ภายในเป็นเนื้อเดียวกัน

ควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์กระเบื้องที่พร้อมใช้งาน โดยมีการตัดมุมหรือเจาะรูสำเร็จมาจากโรงงาน
อย่างไรก็ดี เมื่อมีความจำเป็นต้องใช้เครื่องมือในการตัด เจาะ เพื่อการติดตั้งกระเบื้องซีเมนต์เส้นใยในสถาน
ที่ก่อสร้าง มีคำแนะนำให้ลดการเกิดฝุ่น และป้องกันการหายใจเอาฝุ่นเข้าร่างกายเพื่อความปลอดภัยของช่างที่ทำงานดังนี้ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อแนะนำในการใช้งานอย่างถูกต้องของผู้บริโภค

Chrysotile containing products in a household

In reality vast majority of asbestos containing products in Thailand are high density chrysotile cement roofing sheets, shingles and siding that used outside of home. There is no evidence that people living under chrysotile cement roof have been specifically affected in any manner. These products are not likely to release chrysotile fibres unless sawed, drilled, or cut. Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การใช้แร่ใยหินในอดีตและปัจจุบัน

ในประเทศทางยุโรปและอเมริกาเนื่องจากสภาพภูมิอากาศอาคารบ้านเรือนจะต้องปิดประตูหน้าต่างเพื่อรักษาอุณหภูมิให้อุ่นอยู่เสมอในสมัยที่ยังไม่ทราบกันว่าฝุ่นใยหินมีอันตรายต่อสุขภาพอาคาร/บ้านใหญ่ๆนิยมใช้วิธีพ่นใยหินเคลือบตามผนังเสาฯลฯเพื่อเก็บความร้อนให้อยู่ภายในฝ้าเพดานนิยมใช้แผ่นใยหินชนิดน้ำหนักเบาเนื้อค่อนข้างเปราะป้องกันอัคคีภัยใช้ใยหิน90% ในส่วนผสมกับกาวหรือวัสดุประสาน10% วัสดุที่ได้จึงมีความหนาแน่นต่ำเส้นใยหลุดร่วงฟุ้งกระจายได้ง่ายคนงาน/พนักงานเมื่อสูดลมหายในฝุ่นใยหินจะเข้าไปในร่างกายเป็นอันตรายต่อสุขภาพเพื่อเป็นการแก้ปัญหาทางการในประเทศเหล่านี้จึงได้สั่งห้ามไม่ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอีกต่อไปในปี1986 Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

เส้นใยทดแทนไม่ใช่สิ่งที่ปราศจากอันตราย

ใยแก้ว อันตรายต่อสุขภาพ 

คนงานในกระบวนกรรมวิธีผลิตใยแก้วมีโอกาสสูงที่จะเป็นโรคมะเร็งปอด(3) ถูกจัดว่าเป็นสาร/วัตถุ IARC Class 2B“น่าจะเป็นสารก่อมะเร็งสำหรับมนุษย์” ประเทศสหรัฐอเมริกาบอกว่า “เป็นวัตถุซึ่งน่าเป็นเป็นสารก่อมะเร็ง” MAK Commission ประเทศสหพันธรัฐเยอรมันระบุว่า“เป็นวัตถุเท่าเทียมกับสารก่อมะเร็ง” Read More

Please follow and like us: