สัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน”

สัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน”

เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ Read More

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ ข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์ในประเทศไทย

 

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย

ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลทางเศรษฐกิจ

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ

เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนำเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้ โดยได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจัดทำแผน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป  Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

มะเร็งเยื่อหุ้มปอด (เมโสเธลิโอมา)

Weissได้ทำการศึกษาทบทวนงานของ Yarborough (2006) พบว่าในโรงงานที่ใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวคนงานจะไม่เป็นโรค มะเร็งปอด ดังนี้
“การที่คนงานชายป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มมากขึ้นในระยะหลายปีมานี้ แน่ชัดว่าสาเหตุเป็นเพราะมีฝุ่นใยหินเล็ดลอดเข้าไปในร่างกาย และเป็นชนิดแอมฟิโบล (โครซิโดไลท์และอะมอไซท์) ซึ่งถูกนำมาใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1960 (หลังจากนั้นจึงลดลง) ในประเทศอื่น ปรากฏว่าจำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้มีเพิ่มขึ้น อาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ใยหินแอมฟิโบลสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดโครซิโดไลท์ ข้อมูลของเหตุการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้นำมาใช้ประโยชน์ ผลก็คือ จำนวนคนงานที่ป่วยเป็นโรคนี้ลดจำนวนลง ตรงข้ามกันกับที่มีผู้กลัวว่าจำนวนผู้ป่วยจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตทั้งสั้น และยาว Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

การแพร่กระจาย

จาก การศึกษาด้านนี้โดย Liddell, McDonald & McDonald (1997) แสดงว่าในปัจจุบันซึ่งมีการควบคุมปริมาณฝุ่นเส้นใยในโรงงาน (~ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. x 8 ชม.) จำนวนของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากฝุ่นใยหินไม่มีการเพิ่มสูงขึ้น (เฉพาะโรงงานที่ใช้เส้นใย ไครโซไทล์)

วันที่ 19 ตุลาคม 2006 IARC ได้เสนอบทความในวารสาร “Occupational exposure to asbestos and man-made vitreous fibres and risk of lung cancer: a multicentercase-control study in Europe,” Read More

แร่ใยหิน ไครโซไทล์

ความคงทนทางชีวภาพ

“จากการศึกษาเส้นใย ไครโซไทล์พบว่าสามารถย่อยสลายได้โดยไม่ยากในปอดเส้นใยชนิดนี้เป็นเส้นใยธรรมชาติและความสามารถในการย่อยสลายปรากฏว่ามีแตกต่างกันบ้างขึ้นอยู่กับแหล่งกำเนิดอย่างไรก็ดีค่าความสามารถในการย่อยสลายจะอยู่ประมาณตำแหน่งปลายๆ(สามารถย่อยสลายได้ดี) โดยพิสัยจะประมาณใกล้เคียงกับเส้นใยแก้วและหินที่ค่าสุดท้ายเส้นใย ไครโซไทล์จะย่อยสลายได้ง่ายกว่าเส้นใยเซรามิกส์เส้นใยแก้วชนิดพิเศษและเส้นใยหินชนิดแอมฟิโบล Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์

ประเทศไทย

ประเทศไทยได้นำเข้าใยหินจนถึงปัจจุบันเป็นระยะเวลานานกว่า 70 ปี โดยส่วนใหญ่จะเป็นชนิดเส้นใย ไครโซไทล์ ส่วนใยหินโครซิโดไลท์ทางการได้สั่งห้ามนำเข้า ตามพ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (1992) ปัจจุบันจึงมีเพียงเส้นใย ไครโซไทล์ Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

หน่วยงานที่อุทิศการทำงานเพื่อการเผยแพร่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลข่าวสารด้านสังคม และเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประสานหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการเพื่อให้มีการใช้งานอย่างปลอดภัยศูนย์ศึกษา Read More

Chrysotile แร่ใยหิน

จริง

1. The International Agency for Research on Cancer (IARC-WHO) ได้ให้การรับรองว่าใยหินเป็นสารเคมีก่อมะเร็งประเภท 1 ดังนั้นห้ามนำมาใช้ในทุกกรณี

ในอดีตการใช้ใยหินไม่ว่าชนิดใด วิธีการเป็นไปอย่างไม่ถูกต้อง รายงานนี้ทราบว่าใยหินถูกจัดเป็นสารก่อมะเร็งประเภท 1 เช่นเดียวกันกับแคดเมียม-โครเมียม สารนิเกิล ซิลิกา แสงจากดวงอาทิตย์ ไวนิลคลอไลด์ เครื่องดื่มที่มีอัลกอฮอล์ ปลาเค็ม ควันจากบุหรี่ ขี้เลื่อย กระบวนการผลิตและซ่อมรองเท้า/เครื่องเรือน กระบวนการหล่อเหล็กและเหล็กกล้า และอุตสาหกรรมยางhttp://monographs.iarc.fr/ENG/Classification/crthgr01.php

สิ่งที่ WHO ระบุคืออันตรายที่เกิดขึ้นไม่ใช่สิ่งของหรือสารนั้นๆ ดังนั้นไม่ได้หมายความว่าห้ามใช้ แต่เป็นการควบคุมการใช้ไม่ให้เกิดอันตรายที่ระบุต่างหาก Read More

โรคที่เกิดจากใยหิน: ข้อเท็จจริง

กลุ่มผู้ที่ต่อต้านการใช้ใยหินได้แถลงว่าใยหินเป็นวัตถุสำคัญที่สุดที่ทำ ให้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คน แต่ละปี

ตัว เลข 100,000 เป็นตัวเลขที่เกินความเป็นจริงอย่างมาก ซึ่งน่าจะมากจากการนำเอาข้อมูลเพียงบางส่วนจากประเทศในยุโรปมาคาดการณ์เป็น ตัวเลขรวมทั้งโลกโดยไม่ได้พิจารณาข้อมูลประเภทของเส้นใย โครงสร้างปริมาณบริโภคโดยอุตสาหกรรมและเหตุการณ์ควบคุมการใช้ใยหินชนิด ต่างๆอย่างผิดพลาดในอดีต การคาดการณ์หรือทำนายตัวเลขด้วยวิธีง่ายๆลำพังเพียงอย่างเดียวจึงไม่ถูกต้อง ทำให้ได้ตัวเลขที่เกินความเป็นจริง
ตัว เลข 100,000 คนดังกล่าวนำมาจากรายงานชื่อ “The global burden of disease due to occupational carcinogens” ของ Driscollt และคณะ (2005) และรายงาน“Preliminary estimate calculated from table 21.16, p.1682-1683” ของ Concha-Barrien tos และคณะ (2004) ซึ่งความจริงแล้วผู้เขียนรายงานทั้ง 2 ท่านยอมรับว่าใยหิน2 กลุ่ม ไครโซไทล์และแอมฟิโบลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันใน หน้า 1687  Read More