ปัจจุบันผู้คนทั่วโลกเรียกร้องให้เลิกใช้ใยหิน ดังนั้นจึงไม่ควรขัดขืน รวมทั้งบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิก็เรียกร้องให้เลิกใช้ด้วยเช่นกัน
บุคคลกลุ่มนี้เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์อันสั้น วัตถุประสงค์ย่อมสั้นตาม เหตุผลที่ยกมาอ้างก็สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของตน จะอ้างว่าตนเป็นตัวแทนของบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กร/สถาบันระดับสากลไม่ได้ เหตุใด Read More
ป้ายกำกับ: สารก่อมะเร็ง
บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วม สูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน
บทเรียนราคาแพง!! เกษตรกรอังกฤษอ่วมสูญ 6 พันล้านปอนด์ ยกเลิกแร่ใยหิน
“ตอนประกาศยกเลิกการใช้แร่ใยหินเมื่อสิบปีที่แล้ว พวกเราคิดว่ามันไมได้มีผลอะไรกับพวกเรา แต่ตอนนี้ มันได้สร้างความสูญเสียอย่างมากมาย จึงไม่อยากให้เกษตรกรไทยผิดพลาดเช่นนี้อีก” มร.ไบรอัน เอดจ์ลี ประธานกลุ่มสหภาพเกษตรกรแห่งชาติฯ Read More
Swine industry opposes asbestos ban, citing costs
A ban on asbestos by the government would cost the swine industry 125 billion baht if implemented, says the Swine Raisers Association of Thailand.
Repercussions would be most felt across the country by livestock raisers, farmers and the poor who would have to shoulder total costs of more than 500 billion baht in total, said the association’s president Surachai Sutthitham. Read More
‘ผู้เลี้ยงสุกร’วอนรบ.ทบทวนเลิก’แร่ใยหิน’
นายสุรชัย สุทธิธรรม นายกสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ เปิดเผยว่า กรณีการยกเลิกแร่ใยหินไครโซไทล์
ดร.เดวิด เบอร์นสตีน และ ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ เปิดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดเกี่ยวกับแร่ไครโซไทล์
ดร.เดวิด เบอร์นสตีน และ ศ.ดร.นพ.สมชัย บวรกิตติ เปิดหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ล่าสุดเกี่ยวกับแร่ไครโซไทล์
เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2554 สถาบันไครโซไทล์และศูนย์ข้อมูลไครโซไทล์ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ‘ทัศนะทางวิทยาศาสตร์เรื่องแร่ไครโซไทล์: หลักฐานล่าสุด และกรณีศึกษาระเบียบการควบคุมที่ดีในต่างประเทศ’ Read More
คำถามที่พบบ่อย 2
1. จริงหรือไม่ที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้ยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์
ไม่จริง ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) ซึ่งเป็นผู้กำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้แนะนำวิธีการและมีนโยบายที่แตกต่างกันตามแร่ใยหินแต่ละกลุ่ม Read More
ข้อมูลสถิติ VS การรับรู้
แนวคิดค่าเริ่มต้น…
งานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์มักอ้างอิงถึงระดับการสัมผัสที่ต่ากว่าระดับที่ไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ นักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินบางคนปฏิเสธที่รับรู้ข้อเท็จจริงนี้ และไม่ยอมรับความจริงเรื่องระดับความเข้มข้นและชนิดของแร่ใยหิน แต่สรุปความเห็นเอาเองว่าความเสี่ยงนั้นเท่าๆกัน ซึ่งขัดแย้งกับความคิดเห็นที่เป็นที่ยอมรับกันอย่างกว้างขวาง
ตามที่ระบุในงานศึกษาวิจัยด้านโรคระบาดวิทยา รวมทั้งงานวิจัยที่ได้ระบุไว้ข้างต้นนี้ คนงานที่สัมผัสกับไครโซไทล์ที่ประมาณ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. นั้นไม่มีความเสี่ยง ถ้าปฏิบัติตามมาตรฐานนี้ ไครโซไทล์นั้นไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ Read More
คำทำนายของจูเลี่ยน เพโต (JULIAN PETO) และ การตอบโต้คำทำนาย
จูเลี่ยน เพโต เป็นนักวิชาการโรคระบาดวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งในปี 1995 ได้ทาการประเมินทางสถิติถึงตัวเลขการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการเกี่ยวพันกับแร่ใยหิน โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีความสับสนมาก แต่ได้สร้างความกังวลไปทั่วโลกการประเมินได้เหมารวมแร่ใยหินทุกชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ได้พิจารณาระดับความเสี่ยงของไครโซไทล์ ซึ่งมีการพิสูจน์อย่างน่าเชื่อถือแล้วว่าอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยง คือ ต่ากว่า 1 เส้นใย/ลบ.ซม (1 f/cc.)
การใช้ข้อมูลบางส่วนในรายงาน CONCHA-BARRIENTOS (2004) เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด
ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ
- กว่า 125 ล้านคนสัมผัสกับแร่ใยหินในสถานที่ทางาน จากการประเมินต่างๆ ในแต่ละปี ประชาชนอย่างน้อย 90,000 คน เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่แร่ใยหินนั้นมีส่วนมาเกี่ยวข้อง Read More
ความแตกต่างระหว่าง เรื่องโกหก กับ ความจริง
ระหว่างข้อมูลสถิติที่อนุมานเอาและตัดตอนนามาเพื่อการอ้างอิงเพียงบางส่วน กับ ความจริงของอุตสาหกรรมไครโซไทล์ จะแสดงชัดเจนว่าในโลกเรายังมีการรับรู้ที่ผิดๆและการจงใจก่อให้เกิดความกลัวเกินจริงโดยนักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินทุกชนิดอย่างสิ้นเชิงที่คอยป้อนข้อมูลครึ่งจริงให้โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างกันของแร่ใยหินแต่ละชนิด และไม่ได้พิจารณางานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ดาเนินการวิจัยกันในทศวรรษที่ผ่านมา Read More