Chrysotile แร่ใยหิน

โต้กันแหลก ‘เลิกแร่ใยหินไครโซไทล์

ชี้ภาคอุตสาหกรรม-ปศุสัตว์แบกภาระอ่วม 5 แสนล้าน

ประชาชาธุรกิจ ฉบับวันที่ 11 ตุลาคม 2555
4 องค์กรฟื้นปมยกเลิกใช้ ‘แร่ใยหินไครโซไทล์’ หวั่นภาคเกษตร อุตสาหกรรม ครัวเรือน แบกภาระอ่วมกว่า 5 แลนล้านบาท หลังสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติย้อนรอยบทเรียนในอังกฤษหลังปล่อยให้บังคับใช้กฎหมาย ผู้ขาย ร้านค้าปลีก เดือดร้อนถ้วนหน้า Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ความแตกต่างของผลกระทบทางสุขภาพจากเส้นใยชนิดต่างๆ

ฝุ่นใยหินชนิดอะโมไซท์และโครซิโดไลท์เมื่อเข้าไปในปอดเปรียบเทียบกับเส้น ใยไครโซไทล์ โอกาสเกิดโรคจะมีมากกว่า 100 และ 500 เท่าตามลำดับ สำหรับโรคมะเร็งเยื่อหุ้มปอด และมากกว่า 10 และ 50 เท่า ตามลำดับ สำหรับมะเร็งปอด การที่อันตรายมาก-น้อยต่างกันสาเหตุเนื่องมาจากโครงสร้างและความ สามารถในการละลายตัว (biodurability) ของเส้นใยหินแต่ละชนิด ดังมีข้อความในรายงานของ EPA ตอนหนึ่งที่ยกมาแสดงข้างใต้ Read More

Please follow and like us:
แพทย์ใหญ่ “ย้ำชัด” ยังไม่พบคนไทยเสียชีวิต เพราะ…..แร่ใยหิน

แพทย์ใหญ่ “ย้ำชัด” ยังไม่พบคนไทยเสียชีวิต เพราะ…..แร่ใยหิน!!

แพทย์ใหญ่ “ย้ำชัด” ยังไม่พบคนไทยเสียชีวิตเพราะ…..แร่ใยหิน!!

“ทีแรกรู้สึกดีใจว่าวงการแพทย์ไทยจะได้พบโรคเหตุใยหินจริงจังเสียที แต่เมื่อได้อ่านรายงานที่อ้างในวารสารแล้ว จึงมีความเห็นว่า ข้อมูลของผู้ป่วย ที่วินิจฉัยว่าเสียชีวิตจากแร่ใยหินนั้น เป็นแต่เพียงมีประวัติเคยทำงานในโรงงาน ใช้ใยหินเท่านั้น ยังไม่มีหลักฐานบ่งชี้ว่าโรคที่มีสาเหตุจากใยหิน ดังนั้นจะไม่ขอรับว่าผู้ป่วย ๒ รายนั้นเป็นโรคเหตุใยหิน” Read More

Please follow and like us:
สกู๊ปหน้า 1 ไครโซไทล์ กรณีศึกษาในต่างแดน

บทเรียนเลิกใช้แร่ใยหินเมืองผู้ดี

จากมติคณะรัฐมนตรี 12 เมษายน 2554 ได้เห็นชอบในหลักการตามข้อเสนอของสมัชชาสุขภาพให้ “สังคมไทยปลอดใยหิน” โดยให้ยกเลิกการใช้สินค้า และการนำเข้าผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ใยหินไครโซไทล์ ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตกระเบื้องซีเมนต์ความดันสูง หรือกระเบื้องใยหิน เช่น ผลิตภัณฑ์กระเบื้องลอนคู่ กระเบื้องแผ่นเรียบ กระเบื้องวีนิวล์ปูพื้น รวมถึงท่อซีเมนต์ Read More

Please follow and like us:

โรคที่เกิดจากใยหิน: ข้อเท็จจริง

กลุ่มผู้ที่ต่อต้านการใช้ใยหินได้แถลงว่าใยหินเป็นวัตถุสำคัญที่สุดที่ทำ ให้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตถึง 100,000 คน แต่ละปี

ตัว เลข 100,000 เป็นตัวเลขที่เกินความเป็นจริงอย่างมาก ซึ่งน่าจะมากจากการนำเอาข้อมูลเพียงบางส่วนจากประเทศในยุโรปมาคาดการณ์เป็น ตัวเลขรวมทั้งโลกโดยไม่ได้พิจารณาข้อมูลประเภทของเส้นใย โครงสร้างปริมาณบริโภคโดยอุตสาหกรรมและเหตุการณ์ควบคุมการใช้ใยหินชนิด ต่างๆอย่างผิดพลาดในอดีต การคาดการณ์หรือทำนายตัวเลขด้วยวิธีง่ายๆลำพังเพียงอย่างเดียวจึงไม่ถูกต้อง ทำให้ได้ตัวเลขที่เกินความเป็นจริง
ตัว เลข 100,000 คนดังกล่าวนำมาจากรายงานชื่อ “The global burden of disease due to occupational carcinogens” ของ Driscollt และคณะ (2005) และรายงาน“Preliminary estimate calculated from table 21.16, p.1682-1683” ของ Concha-Barrien tos และคณะ (2004) ซึ่งความจริงแล้วผู้เขียนรายงานทั้ง 2 ท่านยอมรับว่าใยหิน2 กลุ่ม ไครโซไทล์และแอมฟิโบลมีคุณสมบัติที่แตกต่างกันใน หน้า 1687  Read More

Please follow and like us:
แร่ใยหิน

แร่ใยหินและสุขภาพ

ประเภทของแร่ใยหิน

การที่แร่ใยหิน 2 กลุ่มมีคุณสมบัติแตกต่างกัน สาเหตุสำคัญเนื่องมาจากโครงสร้างของเส้นใย ดังนี้

  • ใยหินกลุ่มแอมฟิโบล เส้นใยจะเป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก
  • หินกลุ่มเซอร์เพนไทน์ เส้นใยจะมีลักษณะเป็นเกลียวพันกันคล้ายเชือก ประกอบด้วยเส้นใยย่อยจำนวนมาก

Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของไครโซไทล์

ซีเมนต์จากเส้นใยไครโซไทล์ส่วนผสมของเนื้อส่วนใหญ่จะเป็นซีเมนต์มีส่วนผสมของใยหินอยู่เพียง10-15% โดยน้ำหนักเพื่อเสริมคุณสมบัติและฝังอยู่ในเนื้อซีเมนต์ไม่หลุดรอดออกมาภายนอก

จากการศึกษาโรงงานที่ในกระบวนกรรมวิธีผลิตใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวพบว่ามีปริมาณฝุ่นเส้นใยในบรรยากาศต่ำ1-2 เส้นใย/ลบ.ซม. คนงานที่สูบและไม่สูบบุหรี่ทั้ง2 กลุ่มไม่เป็นโรคมะเร็งปอดอนึ่งบรรดาผู้ทรงคุณวุฒิได้มีมติเห็นพ้องต้องกันว่าถ้ามีปริมาณฝุ่นในบรรยากาศเพียง0.5-1.0 เส้นใย/ลบ.ซม. คนงานจะไม่มีโอกาสเป็นโรคปอดอันเนื่องมาจากแร่ใยหิน(asbestosis) Read More

Please follow and like us:
ทบทวนการยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์

เครือข่ายภาคประชาชนเรียกร้องภาครัฐฯ ทบทวนการยกเลิกการใช้แร่ไครโซไทล์

 

เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ ร่วมกับ วิทยุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกันจัดสัมมนาเชิงวิชาการหัวข้อ “ไครโซไทล์ แร่ใยหินที่ไทยต้องชัดเจน” เพื่อเป็นเวทีในการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับเรื่องแร่ไครโซไทล์ พร้อมเรียกร้องให้รัฐบาลและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อประชาชนทั้งทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่จะตามมาหากมีการยกเลิกการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของแร่ไครโซไทล์ Read More

Please follow and like us: