Chrysotile แร่ใยหิน

การทำนายของเพโต : การใช้ข้อมูลผิดๆ และผลกระทบต่อความเข้าใจของสาธารณชน

ข้อมูลสถิติมักถูกใช้เพื่อทำนายเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในเชิงปริมาณ ตามเกณฑ์ของการอนุมานจากข้อมูลในอดีต ในที่นี้ ทั้งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่องของข้อมูลในอดีตดังกล่าวนั้นเป็นหัวใจสาคัญ ตัวอย่างหนึ่งของการใช้ข้อมูลในอดีตที่ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่เหมาะสม คือ การทำนายจานวนการเสียชีวิตที่เกี่ยวพันกับ “แร่ใยหิน” โดยนักวิชาโรคระบาดวิทยา จูเลี่ยน เพโต (Julian Peto) Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำแนะนำที่แท้จริงจากสำนักเลขาธิการองค์การอนามัยโลก (WHO) ในการยกเลิกการใช้แร่ใยหิน (ASBESTOS)

ความเป็นมา

ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) เป็นผู้มีอำนาจในการตัดใจสูงสุดและกำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมติที่ 60.26 ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 2007 ว่าด้วยการรณรงค์ระดับนานาชาติเพื่อกำจัดโรคที่เกิดจากแร่ใยหิน โดยให้ตระหนักถึงวิธีการที่หลากหลายเพื่อกำหนดกฏเกณฑ์ควบคุมแร่ใยหินที่แตกต่างกันตามแต่ละชนิด Read More

Please follow and like us:
ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

รอคอย: Marc Lalonde หนึ่งในบรรดาชาวเมืองแอสเบสตอส (Asbestos) ที่ตื่นเต้นกับการที่เหมืองเจฟฟรี (Jeffrey Mine) จะกลับมาเปิดตัวอีกครั้งหนึ่ง ร่วมบาร์บีคิวสังสรรค์กับครอบครัว
มันอาจจะเป็นสารก่อมะเร็ง และเป็นสิ่งที่น่ากลัวสำหรับที่อื่น แต่แร่ใยหินมีความหมายว่างานและความมั่นคงของเมืองนี้ ที่ที่ทุกคนรู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี ในตอนนี้เงินกู้ได้รับการอนุมัติ และทุกๆคนก็พร้อมที่จะกลับไปทำงาน
การที่รัฐบาลเมืองควิเบคเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้ได้ให้เงินกู้ให้กับ Balcorp Ltd. เป็นเงิน 58 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อที่จะได้เปิดกิจการขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ได้รับการมองว่าเป็นการลงทุนที่ดี Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำถามที่พบบ่อย

1 – เส้นใย ไครโซไทล์ คืออะไร

เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยประเภทหนึ่ง ของใยหินใยหินเป็นเส้นใยจากธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม มีคุณสมบัติทางเคมีต่างกันมาก ได้แก่

เส้นใยแอมฟิโบล เป็นเส้นใยเดี่ยวรูปทรงกระบอก มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) สูง ระยะเวลาย่อยสลาย 50% มากกว่า 900 วัน จึงเป็นอันตรายมาก
เส้นใยไครโซไทล์ เป็นเส้นใยยาวคล้ายเส้นไหม มีคุณสมบัติความทนทานของเส้นใย (biopersistent) ต่ำ ระยะเวลาย่อยสลาย 50% น้อยกว่า 14 วัน จึงเป็นอันตรายน้อยมาก Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

กฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง

กรณีศึกษาของประเทศไทย

การนำเข้าใช้และเก็บ รักษาใยหินจะอยู่ภายใต้การดูแลควบคุมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยใยหินชนิดโครซิโดไลท์ได้ถูกสั่งห้ามนำเข้า เนื่องจากเป็นวัตถุที่มีอันตรายตาม พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ยังมีพรบ. คุ้มครองแรงงานของกระทรวงแรงงานอีกฉบับหนึ่งที่ควบคุมเกี่ยวกับใยหิน ซึ่งทั้งหมดแสดงว่าในประเทศไทยมีมาตรการและกำหนดมาตรฐานเพื่อคุ้มครอง สุขภาพของคนงาน
กฎหมายและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแร่ใยหิน Read More

Please follow and like us:
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ ข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์ในประเทศไทย

 

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย

ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลทางเศรษฐกิจ

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ

เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนำเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้ โดยได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจัดทำแผน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป  Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

มะเร็งเยื่อหุ้มปอด (เมโสเธลิโอมา)

Weissได้ทำการศึกษาทบทวนงานของ Yarborough (2006) พบว่าในโรงงานที่ใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวคนงานจะไม่เป็นโรค มะเร็งปอด ดังนี้
“การที่คนงานชายป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มมากขึ้นในระยะหลายปีมานี้ แน่ชัดว่าสาเหตุเป็นเพราะมีฝุ่นใยหินเล็ดลอดเข้าไปในร่างกาย และเป็นชนิดแอมฟิโบล (โครซิโดไลท์และอะมอไซท์) ซึ่งถูกนำมาใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1960 (หลังจากนั้นจึงลดลง) ในประเทศอื่น ปรากฏว่าจำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้มีเพิ่มขึ้น อาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ใยหินแอมฟิโบลสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดโครซิโดไลท์ ข้อมูลของเหตุการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้นำมาใช้ประโยชน์ ผลก็คือ จำนวนคนงานที่ป่วยเป็นโรคนี้ลดจำนวนลง ตรงข้ามกันกับที่มีผู้กลัวว่าจำนวนผู้ป่วยจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตทั้งสั้น และยาว Read More

Please follow and like us: