Chrysotile แร่ใยหิน

คำทำนายของจูเลี่ยน เพโต (JULIAN PETO) และ การตอบโต้คำทำนาย

จูเลี่ยน เพโต เป็นนักวิชาการโรคระบาดวิทยาชาวอังกฤษ ซึ่งในปี 1995 ได้ทาการประเมินทางสถิติถึงตัวเลขการเสียชีวิตอันเนื่องมาจากการเกี่ยวพันกับแร่ใยหิน โดยพิจารณาจากข้อมูลที่มีความสับสนมาก แต่ได้สร้างความกังวลไปทั่วโลกการประเมินได้เหมารวมแร่ใยหินทุกชนิดไว้ด้วยกัน โดยไม่ได้พิจารณาระดับความเสี่ยงของไครโซไทล์ ซึ่งมีการพิสูจน์อย่างน่าเชื่อถือแล้วว่าอยู่ในระดับที่ไม่มีความเสี่ยง คือ ต่ากว่า 1 เส้นใย/ลบ.ซม (1 f/cc.)

Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การใช้ข้อมูลบางส่วนในรายงาน CONCHA-BARRIENTOS (2004) เพื่อให้เกิดความเข้าใจผิด

ข้อมูลที่จงใจนามาอ้างอิงไม่ครบ

  •  กว่า 125 ล้านคนสัมผัสกับแร่ใยหินในสถานที่ทางาน จากการประเมินต่างๆ ในแต่ละปี ประชาชนอย่างน้อย 90,000 คน เสียชีวิตจากโรคมะเร็งที่แร่ใยหินนั้นมีส่วนมาเกี่ยวข้อง Read More
Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การทำนายของเพโต : การใช้ข้อมูลผิดๆ และผลกระทบต่อความเข้าใจของสาธารณชน

ข้อมูลสถิติมักถูกใช้เพื่อทำนายเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในเชิงปริมาณ ตามเกณฑ์ของการอนุมานจากข้อมูลในอดีต ในที่นี้ ทั้งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่องของข้อมูลในอดีตดังกล่าวนั้นเป็นหัวใจสาคัญ ตัวอย่างหนึ่งของการใช้ข้อมูลในอดีตที่ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่เหมาะสม คือ การทำนายจานวนการเสียชีวิตที่เกี่ยวพันกับ “แร่ใยหิน” โดยนักวิชาโรคระบาดวิทยา จูเลี่ยน เพโต (Julian Peto) Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำอ้างลอยๆ ที่ว่า แร่ใยหิน (Asbestos): เป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตถึง 100,000 ราย… ต่อปี เรื่องโกหก หรือ ความจริง?

ข้อมูลสถิติการใช้และการใช้อย่างไม่ถูกต้อง

Jacques Dunnigan, Ph.D

ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โลกถูกกระหน่าด้วยข้อมูลสถิติ ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “ซึนามิแห่งสถิติ” ซึ่งแทบทุกเรื่องและทุกหัวข้อถูกนามารวบรวมเป็นตัวเลข ที่บางคนเรียกวิธีการนี้ว่า “การโกงด้วยตัวเลข” Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำแนะนำที่แท้จริงจากสำนักเลขาธิการองค์การอนามัยโลก (WHO) ในการยกเลิกการใช้แร่ใยหิน (ASBESTOS)

ความเป็นมา

ที่ประชุมสมัชชาองค์การอนามัยโลก (WHA) เป็นผู้มีอำนาจในการตัดใจสูงสุดและกำหนดนโยบายขององค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ออกมติที่ 60.26 ในเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 2007 ว่าด้วยการรณรงค์ระดับนานาชาติเพื่อกำจัดโรคที่เกิดจากแร่ใยหิน โดยให้ตระหนักถึงวิธีการที่หลากหลายเพื่อกำหนดกฏเกณฑ์ควบคุมแร่ใยหินที่แตกต่างกันตามแต่ละชนิด Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

กฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง

กรณีศึกษาของประเทศไทย

การนำเข้าใช้และเก็บ รักษาใยหินจะอยู่ภายใต้การดูแลควบคุมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยใยหินชนิดโครซิโดไลท์ได้ถูกสั่งห้ามนำเข้า เนื่องจากเป็นวัตถุที่มีอันตรายตาม พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ยังมีพรบ. คุ้มครองแรงงานของกระทรวงแรงงานอีกฉบับหนึ่งที่ควบคุมเกี่ยวกับใยหิน ซึ่งทั้งหมดแสดงว่าในประเทศไทยมีมาตรการและกำหนดมาตรฐานเพื่อคุ้มครอง สุขภาพของคนงาน
กฎหมายและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแร่ใยหิน Read More

Please follow and like us:
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ ข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์ในประเทศไทย

 

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย

ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ข้อมูลทางเศรษฐกิจ

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ

เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนำเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้ โดยได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจัดทำแผน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป  Read More

Please follow and like us: