เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์ Read More

เสียชีวิต 100,000” สองถ้อยคำที่ทำลายอุตสาหกรรมไครไซไทล์ Read More
ระหว่างข้อมูลสถิติที่อนุมานเอาและตัดตอนนามาเพื่อการอ้างอิงเพียงบางส่วน กับ ความจริงของอุตสาหกรรมไครโซไทล์ จะแสดงชัดเจนว่าในโลกเรายังมีการรับรู้ที่ผิดๆและการจงใจก่อให้เกิดความกลัวเกินจริงโดยนักรณรงค์การห้ามใช้แร่ใยหินทุกชนิดอย่างสิ้นเชิงที่คอยป้อนข้อมูลครึ่งจริงให้โดยไม่มีการแบ่งแยกความแตกต่างกันของแร่ใยหินแต่ละชนิด และไม่ได้พิจารณางานศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ดาเนินการวิจัยกันในทศวรรษที่ผ่านมา Read More
ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป Read More
ข้อมูลสถิติมักถูกใช้เพื่อทำนายเหตุการณ์หรือผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้นในเชิงปริมาณ ตามเกณฑ์ของการอนุมานจากข้อมูลในอดีต ในที่นี้ ทั้งคุณภาพและความเกี่ยวเนื่องของข้อมูลในอดีตดังกล่าวนั้นเป็นหัวใจสาคัญ ตัวอย่างหนึ่งของการใช้ข้อมูลในอดีตที่ไม่มีความน่าเชื่อถือและไม่เหมาะสม คือ การทำนายจานวนการเสียชีวิตที่เกี่ยวพันกับ “แร่ใยหิน” โดยนักวิชาโรคระบาดวิทยา จูเลี่ยน เพโต (Julian Peto) Read More
Safe use of chrysotile asbestos manual
EXECUTIVE SUMMARY Read More
กรณีศึกษาของประเทศไทย
การนำเข้าใช้และเก็บ รักษาใยหินจะอยู่ภายใต้การดูแลควบคุมของกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยใยหินชนิดโครซิโดไลท์ได้ถูกสั่งห้ามนำเข้า เนื่องจากเป็นวัตถุที่มีอันตรายตาม พรบ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ยังมีพรบ. คุ้มครองแรงงานของกระทรวงแรงงานอีกฉบับหนึ่งที่ควบคุมเกี่ยวกับใยหิน ซึ่งทั้งหมดแสดงว่าในประเทศไทยมีมาตรการและกำหนดมาตรฐานเพื่อคุ้มครอง สุขภาพของคนงาน
กฎหมายและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแร่ใยหิน Read More
Guidelines for a regulation on the Safe and Responsible use of chrysotile asbestos
The Chrysotile Institute
September 1999 Read More
เครือข่ายภาคประชาชน สมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติ มูลนิธิเพื่อคุณธรรม เครือข่ายชุมชนเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลและเครือข่ายแรงงานผู้ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกการใช้แร่ ไครโซไทล์ Read More
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย
ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Read More
การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ
เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2554 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแนวทางในการห้ามนำเข้าแร่ใยหินไครโซไทล์ และผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์เฉพาะกรณี และห้ามผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ใยหินไครโซไทล์ที่ใช้วัตถุดิบอื่นหรือผลิตภัณฑ์อื่นทดแทนได้ โดยได้มอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับไปจัดทำแผน แล้วนำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาต่อไป Read More