Chrysotile แร่ใยหิน

เราสามารถนำแร่ไครโซไทล์มาใช้ได้อย่างปลอดภัย

ตลอดหลายปีที่ผ่านมามีตัวอย่างงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว โดยหน่วยงานต่าง ๆ ในหลายประเทศ ที่ชี้ให้เห็นว่าไม่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เมื่อนาแร่ไครไซไทล์มาใช้ในสภาพแวดล้อมที่มีการควบคุมระดับการสัมผัสในปัจจุบัน (≤ 1 f/cc) เราขอให้ท่านสังเกตผลการวิจัยและข้อสรุปของงานวิจัยแต่ละชิ้นว่าตรงกันอย่างไร ซึ่งเป็นเพียงงานวิจัยบางส่วนเท่านั้น ส่วนข้อสรุปของงานวิจัยบางชิ้นที่นามาอ้างอิงสามารถอ่านได้ตั้งแต่หน้า 10 เป็นต้นไป Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

คำอ้างลอยๆ ที่ว่า แร่ใยหิน (Asbestos): เป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตถึง 100,000 ราย… ต่อปี เรื่องโกหก หรือ ความจริง?

ข้อมูลสถิติการใช้และการใช้อย่างไม่ถูกต้อง

Jacques Dunnigan, Ph.D

ตลอดหลายทศวรรษที่ผ่านมา โลกถูกกระหน่าด้วยข้อมูลสถิติ ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “ซึนามิแห่งสถิติ” ซึ่งแทบทุกเรื่องและทุกหัวข้อถูกนามารวบรวมเป็นตัวเลข ที่บางคนเรียกวิธีการนี้ว่า “การโกงด้วยตัวเลข” Read More

Please follow and like us:
ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

ประชาชนในเมืองต่างยินดีกับการกลับมาของเหมืองใยหิน

รอคอย: Marc Lalonde หนึ่งในบรรดาชาวเมืองแอสเบสตอส (Asbestos) ที่ตื่นเต้นกับการที่เหมืองเจฟฟรี (Jeffrey Mine) จะกลับมาเปิดตัวอีกครั้งหนึ่ง ร่วมบาร์บีคิวสังสรรค์กับครอบครัว
มันอาจจะเป็นสารก่อมะเร็ง และเป็นสิ่งที่น่ากลัวสำหรับที่อื่น แต่แร่ใยหินมีความหมายว่างานและความมั่นคงของเมืองนี้ ที่ที่ทุกคนรู้จักและคุ้นเคยเป็นอย่างดี ในตอนนี้เงินกู้ได้รับการอนุมัติ และทุกๆคนก็พร้อมที่จะกลับไปทำงาน
การที่รัฐบาลเมืองควิเบคเป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้ได้ให้เงินกู้ให้กับ Balcorp Ltd. เป็นเงิน 58 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อที่จะได้เปิดกิจการขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ได้รับการมองว่าเป็นการลงทุนที่ดี Read More

Please follow and like us:
กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์

การศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจ ข้อเสนอการยกเลิกการใช้สารไครโซไทล์ในประเทศไทย

 

กรณีศึกษา ผลิตภัณฑ์กระเบื้องแร่ใยหินไครโซไทล์ โดย

ดร. อิงเหวย หวัง
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

มะเร็งเยื่อหุ้มปอด (เมโสเธลิโอมา)

Weissได้ทำการศึกษาทบทวนงานของ Yarborough (2006) พบว่าในโรงงานที่ใช้เส้นใยไครโซไทล์เพียงอย่างเดียวคนงานจะไม่เป็นโรค มะเร็งปอด ดังนี้
“การที่คนงานชายป่วยเป็นโรคมะเร็งปอดเพิ่มมากขึ้นในระยะหลายปีมานี้ แน่ชัดว่าสาเหตุเป็นเพราะมีฝุ่นใยหินเล็ดลอดเข้าไปในร่างกาย และเป็นชนิดแอมฟิโบล (โครซิโดไลท์และอะมอไซท์) ซึ่งถูกนำมาใช้ปริมาณมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1960 (หลังจากนั้นจึงลดลง) ในประเทศอื่น ปรากฏว่าจำนวนผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคนี้มีเพิ่มขึ้น อาจเป็นเพราะว่ามีการใช้ใยหินแอมฟิโบลสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิดโครซิโดไลท์ ข้อมูลของเหตุการณ์ ประเทศสหรัฐอเมริกาได้นำมาใช้ประโยชน์ ผลก็คือ จำนวนคนงานที่ป่วยเป็นโรคนี้ลดจำนวนลง ตรงข้ามกันกับที่มีผู้กลัวว่าจำนวนผู้ป่วยจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคตทั้งสั้น และยาว Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

การแพร่กระจาย

จาก การศึกษาด้านนี้โดย Liddell, McDonald & McDonald (1997) แสดงว่าในปัจจุบันซึ่งมีการควบคุมปริมาณฝุ่นเส้นใยในโรงงาน (~ 1 เส้นใย/ลบ.ซม. x 8 ชม.) จำนวนของผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากฝุ่นใยหินไม่มีการเพิ่มสูงขึ้น (เฉพาะโรงงานที่ใช้เส้นใย ไครโซไทล์)

วันที่ 19 ตุลาคม 2006 IARC ได้เสนอบทความในวารสาร “Occupational exposure to asbestos and man-made vitreous fibres and risk of lung cancer: a multicentercase-control study in Europe,” Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

ศูนย์ศึกษาข้อมูลไครโซไทล์

หน่วยงานที่อุทิศการทำงานเพื่อการเผยแพร่งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ข้อมูลข่าวสารด้านสังคม และเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับแร่ใยหินชนิดไครโซไทล์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประสานหน่วยงานราชการและผู้ประกอบการเพื่อให้มีการใช้งานอย่างปลอดภัยศูนย์ศึกษา Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

“อุฬาร” ยันแร่ใยหิน “ไครโซไทล์” ไม่ก่อมะเร็ง โวย “สคบ.” บังคับติดฉลากอันตราย

ผู้บริหาร “กระเบื้องโอฬาร” ยืนยัน “แร่ใยหินไครโซไทล์” ไม่ใช่สารก่อมะเร็ง เพราะสามารถสลายในร่างกายมนุษย์ได้ภายใน 14 วัน แต่ชนิดแอมฟิโบลที่ก่อมะเร็ง ได้เลิกขุดมาผลิตมานานถึง 40 ปีแล้ว ลั่นฟ้องศาลปกครองหาก สคบ. บังคับให้ติดฉลากระวังสินค้า เนื่องจากผลพิสูจน์ชัดเจนแล้วว่า เป็นแร่ใยหินคนละชนิดกัน Read More

Please follow and like us:
Chrysotile แร่ใยหิน

จดหมายชี้แจ้งไปยังหนังสือพิมพ์บางกอกโพส เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2555

เมื่อไม่นานมานี้ มีการร้องเรียนเกี่ยวมาตรการแร่ใยหินจากหลายหน่วยงานทั่วโลก เนื่องจากมีการนำเสนอมาตรการนี้ด้วยข้อมูลที่มีความคลานเคลื่อน ขาดหลักฐานสนับสนุนที่เพียงพอและมีการบิดเบือนโดยการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้นอกบริบท

Read More

Please follow and like us: